مقالات

 ชีวประวัติของอิมามฮะซัน อัสกะรีย์ (อ.) ท่านอิมามที่ 11 แห่งวงศ์วานอะฮ์ลุลบัยต์ 
อิมามฮะซัน อัสกะรีย์ ถือกำเนิดเมื่อวันที่ 8 เดือนรอบิอุษษานี  ในปีฮิจเราะฮ์ศักราช 232 ณ เมืองมะดีนะฮ์ อันศักดิ์สิทธิ์  และเมื่ออิมามฮะซัน อัสกะรีย์(อ.) ถือกำเนิด อิมามอะลี ฮาดีย์(อ.) บิดาของท่านกล่าวว่า เป็นคำสั่งจากท่านศาสดา(ศ.) ให้ตั้งชื่อท่านว่า ฮะซัน
มิตรภาพคือสิ่งที่มีมาช้านานระหว่างพุทธศาสนากับอิสลาม
ตามรายงานของเวบไซต์ bknomasjid.com ได้นำเสนอบทความของพระรูปหนึ่ง ซึ่งมีเนื้อหาต่อต้านการสร้างมัสยิดที่นครพนม
ผมจะบอกคุณว่า เขาคือ ดร เชค ยูซุฟ อัลกัรฎอวีย์ ประธานสมาพันธ์อุลามาอ์มุสลิมโลก ไม่กี่วันที่ผ่านมาในอิสตันบูล เขาได้กล่าวว่า หากมีพลังและแข็งแรงผมจะไปยังอาเลปโปและต่อสู้เคียงข้างเหล่าทหารเพื่อช่วยอิสลามและมวลมุสลิม
พระผู้เป็นเจ้าได้ทรงตรัสไว้ในคัมภีร์อัลกุรอานเช่นเดียวกัน ในบทอาลิอิมรอน และบทที่เกี่ยวกับเรื่องราวการถือกำเนิดของท่านศาสดาอีซา (อ.) หรือพระเยซู ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องนี้สามารถพิจารณาดูได้ในโองการ (อายะฮ์) ที่ 16 ถึง 35 จากอัลกุรอาน บท (ซูเราะฮ์) มัรยัม
การเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซูหรือศาสดาอีซา (อ.) ซึ่งจะมีการจัดขึ้นทุกปีในวันที่ 25 December หรือตรงกับปฏิทินไทยคือวันที่ 25 ธันวาคม เป็นที่รู้จักกันดีในนามวันคริสต์มาส ประวัติความเป็นมาของวันคริสต์มาส (การเฉลิมฉลองวันประสูติของพระเยซู)
นอกจากนั้นก็มีเรื่องมากมายหลายรูปแบบ บางคนอาจจะไม่ถูกลงโทษเลย อัลลอฮฺ(ซบ) ทรงประวิงเวลา คือให้โอกาส 40 วัน  ดูว่าในช่วง 40  วันนี้จะมีใครมาช่วยเขา  ในความจริงแล้วนั้น ที่มาของการทำบุญ 40 วัน  ท่านนบี(ซล) เป็นผู้สั่งให้ทำบุญ 40 วันเอง  และตัวเลข 40 นั้นเป็นตัวเลขที่สำคัญตัวเลขหนึ่งในอิสลาม
นอกจากนั้นก็มีเรื่องมากมายหลายรูปแบบ บางคนอาจจะไม่ถูกลงโทษเลย อัลลอฮฺ(ซบ) ทรงประวิงเวลา คือให้โอกาส 40 วัน ดูว่าในช่วง 40 วันนี้จะมีใครมาช่วยเขา ในความจริงแล้วนั้น ที่มาของการทำบุญ 40 วัน ท่านนบี(ซล) เป็นผู้สั่งให้ทำบุญ 40 วันเอง และตัวเลข 40
เราคือประติมากรรมของอัลลอฮฺ(ซบ) พี่น้องเข้าใจไหม?  ถ้าพี่น้องเป็นนักศิลปะ ถ้าพี่น้องปั้นรูปเหมือนคนจริงๆ เหมือนทุกอย่างเลย แต่มันเคลื่อนไหวไม่ได้เท่านั้น แต่ใครๆมาก็บอกว่าปั้นได้อย่างไร ประติมากรรมอันนี้มันยิ่งใหญ่
เราคือประติมากรรมของอัลลอฮฺ(ซบ) พี่น้องเข้าใจไหม? ถ้าพี่น้องเป็นนักศิลปะ ถ้าพี่น้องปั้นรูปเหมือนคนจริงๆ เหมือนทุกอย่างเลย แต่มันเคลื่อนไหวไม่ได้เท่านั้น แต่ใครๆมาก็บอกว่าปั้นได้อย่างไร ประติมากรรมอันนี้มันยิ่งใหญ่
ความตายไม่ได้มีความน่ากลัวใดๆสำหรับคนที่เข้าใจอย่างแท้จริง ปัญหาของมนุษย์มีอยู่ว่า ทำไมมนุษย์กลัวความตาย  ซึ่งมีหลายๆสาเหตุ และหลายๆปัจจัย หนึ่งในเหตุผลก็เพราะมนุษย์ไม่เข้าใจเป้าหมายในการสร้างมนุษย์  เรามิได้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้อยู่บนโลกนี้อย่างจีรัง แต่ต้องกลับสู่อีกชีวิตหนึ่งที่นิรันดร์ และเป็นชีวิตที่อมตะ
ความตายไม่ได้มีความน่ากลัวใดๆสำหรับคนที่เข้าใจอย่างแท้จริง ปัญหาของมนุษย์มีอยู่ว่า ทำไมมนุษย์กลัวความตาย ซึ่งมีหลายๆสาเหตุ และหลายๆปัจจัย หนึ่งในเหตุผลก็เพราะมนุษย์ไม่เข้าใจเป้าหมายในการสร้างมนุษย์ เรามิได้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้อยู่บนโลกนี้อย่างจีรัง
ทำไมมันไม่ใช่มาตรวัด? นั่นก็เพราะมนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อสิ่งเหล่านี้  มนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อหาความสุขในโลกดุนยานี้ แต่ในมุมมองที่ตรงกันข้ามนั้น จริงๆ แล้วผู้ที่จะประสบความสำเร็จในโลกนี้ เขาจะต้องอยู่ในโลกนี้อย่างยากลำบาก
ทำไมมันไม่ใช่มาตรวัด? นั่นก็เพราะมนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อสิ่งเหล่านี้ มนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อหาความสุขในโลกดุนยานี้ แต่ในมุมมองที่ตรงกันข้ามนั้น จริงๆ แล้วผู้ที่จะประสบความสำเร็จในโลกนี้ เขาจะต้องอยู่ในโลกนี้อย่างยากลำบาก
“อัรบะอีน” คือการรำลึก 40 วันแห่งอิสลามที่จัดขึ้นครั้งแรกและจัดขึ้นในเรื่องราวที่เกี่ยวกับท่านอิมามฮูเซน (อ) ซึ่งก่อนหน้านี้มีบุคคลมากมายได้เสียชีวิต มีคนดีมากมายได้จากโลกนี้ไป ทั้งบรรดาศาสดาและเอาลิยาอฺของอัลลอฮฺ (ซบ) แต่เราจะไม่พบว่า มี “อัรบะอีน” หรือการจัดรำลึก 40 วันของบุคคลเหล่านั้นเลย แม้กระทั่งการจากไปของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ) ก็ตาม?
“อัรบะอีน” คือการรำลึก 40 วันแห่งอิสลามที่จัดขึ้นครั้งแรกและจัดขึ้นในเรื่องราวที่เกี่ยวกับท่านอิมามฮูเซน (อ) ซึ่งก่อนหน้านี้มีบุคคลมากมายได้เสียชีวิต มีคนดีมากมายได้จากโลกนี้ไป ทั้งบรรดาศาสดาและเอาลิยาอฺของอัลลอฮฺ (ซบ) แต่เราจะไม่พบว่า มี “อัรบะอีน”
ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ อัซซะฮ์รอ (อ.) ถือว่าการปกป้องวิลายะฮ์ (อำนาจการปกครอง) และสิทธิอันชอบธรรมของท่านอิมามอะลี (อ.) ตราบเท่าชีวิตของท่านนั้น เป็นหน้าที่ประการหนึ่งจากพระผู้เป็นเจ้า
ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ อัซซะฮ์รอ (อ.) ถือว่าการปกป้องวิลายะฮ์ (อำนาจการปกครอง) และสิทธิอันชอบธรรมของท่านอิมามอะลี (อ.) ตราบเท่าชีวิตของท่านนั้น เป็นหน้าที่ประการหนึ่งจากพระผู้เป็นเจ้า
ที่ดินฟะดัก มีความหมายเป็นของขวัญ ของกำนัล สำหรับท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ ซะฮ์รออ์ มิใช่ในความหมายว่า เป็นมรดก หากแต่ที่ถูกกล่าวถึงว่า เป็นมรดกในการเรียกร้องนั้น มีขึ้นเมื่ออะบูบักร์ปฏิเสธคำร้องขอนางและของท่านอะลี อีกทั้งยังปฏิเสธคำขอของท่านฮะซัน ฮุเซน และของอุมมุอัยมัน ขณะที่พวกเขาเป็นพยานยืนยันว่า ที่ดินนั้นเป็นของขวัญหรือของกำนัล
ที่ดินฟะดัก มีความหมายเป็นของขวัญ ของกำนัล สำหรับท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ ซะฮ์รออ์ มิใช่ในความหมายว่า เป็นมรดก หากแต่ที่ถูกกล่าวถึงว่า เป็นมรดกในการเรียกร้องนั้น มีขึ้นเมื่ออะบูบักร์ปฏิเสธคำร้องขอนางและของท่านอะลี อีกทั้งยังปฏิเสธคำขอของท่านฮะซัน ฮุเซน
ฐานะภาพของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(ซ.)สูงส่งถึงขั้นที่ว่าความพึงพอใจและความกริ้วโกรธของเธอ ถือเป็นมาตรวัดความพึงพอใจและความพิโรธของท่านนบี(ซ.ล.)และพระองค์อัลลอฮ์
ฐานะภาพของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(ซ.)สูงส่งถึงขั้นที่ว่าความพึงพอใจและความกริ้วโกรธของเธอ ถือเป็นมาตรวัดความพึงพอใจและความพิโรธของท่านนบี(ซ.ล.)และพระองค์อัลลอฮ์
  “เมื่อพวกเขาต้องการที่จะนำตัวท่านอะลี (อ.) ไปยังมัสยิดพวกเขาต้องเผชิญหน้ากับการต้านทานของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ (อ.) เพื่อที่จะยับยั้งและขัดขวางการนำตัวสามีของท่านไปนั้น ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ (อ.) ต้องเผชิญกับการถูกทำร้ายอย่างมากมายทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ โดยที่เราไม่อาจจะบรรยายเรื่องราวทั้งหมดเหล่านั้นได้ด้วยคำพูดและปากกา”
“เมื่อพวกเขาต้องการที่จะนำตัวท่านอะลี (อ.) ไปยังมัสยิดพวกเขาต้องเผชิญหน้ากับการต้านทานของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ (อ.) เพื่อที่จะยับยั้งและขัดขวางการนำตัวสามีของท่านไปนั้น ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ (อ.) ต้องเผชิญกับการถูกทำร้ายอย่างมากมายทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ท่านอิมามริฏอ (อ.) มีบทบาทสำคัญอย่างไรในการพิทักษ์ปกป้องอิสลามอันบริสุทธิ์ของท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ) การฟื้นฟูคุณค่าต่างๆ แห่งอิสลาม และการเชิดชูหลักคำสอนของบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) นั้น จำเป็นที่เราจะต้องมารู้จักถึงสถานภาพและความยิ่งใหญ่ของท่านอิมาม (อ.) โดยสังเขปเสียก่อน หนึ่งในแนวทางที่ดีที่สุดและละเอียดอ่อนที่สุดในการรู้จักบรรดาอิมาม (อ.) ของชีอะฮ์ นั่นก็คือ การพิจารณาถึง “อัลก๊อบ” (القاب) หรือ “สมญานาม” ที่ถูกขนานนามอันเป็นเฉพาะของท่านเหล่านั้น
ท่านอิมามริฏอ (อ.) มีบทบาทสำคัญอย่างไรในการพิทักษ์ปกป้องอิสลามอันบริสุทธิ์ของท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ) การฟื้นฟูคุณค่าต่างๆ แห่งอิสลาม และการเชิดชูหลักคำสอนของบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) นั้น จำเป็นที่เราจะต้องมารู้จักถึงสถานภาพและความยิ่งใหญ่ของท่านอิมาม (อ.)
ตามคำรายงาน (ริวายะฮ์) จำนวนมากที่ปรากฏอยู่ในหนังสือต่างๆ ทั้งของชีอะฮ์และซุนนีนั้น มุอาวิยะฮ์ บุตรของอบีซุฟยาน ได้ส่งยาพิษไปให้ญะอ์ดะฮ์ ลูกสาวของอัชอัษ บินเกซ ผู้ซึ่งมีบทบาทหลักในทุกๆ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยของท่านอิมามอะลี (อ.) และมุอาวิยะฮ์ได้ให้คำมั่นสัญญากับญะอ์ดะฮ์ว่า หากนางสามารถสังหารอิมามฮะซัน (อ.) ได้ จะให้นางแต่งงานกับยะซีดลูกชายของตน ญะอ์ดะฮ์ได้ปฏิบัติตามแผนของมุอาวิยะฮ์ จึงวางยาพิษและสังหารท่านอิมามฮะซัน (อ.) ด้วยยาพิษที่มุอาวิยะฮ์ส่งมาให้ ในขณะที่ท่านอิมามฮะซัน (อ.) ถือศีลอด
ตามคำรายงาน (ริวายะฮ์) จำนวนมากที่ปรากฏอยู่ในหนังสือต่างๆ ทั้งของชีอะฮ์และซุนนีนั้น มุอาวิยะฮ์ บุตรของอบีซุฟยาน ได้ส่งยาพิษไปให้ญะอ์ดะฮ์ ลูกสาวของอัชอัษ บินเกซ ผู้ซึ่งมีบทบาทหลักในทุกๆ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยของท่านอิมามอะลี (อ.)
สัญลักษณ์ของผู้ศรัทธานั้นมีห้าประการคือ การนมาซห้าสิบเอ็ดร่อกาอัต การอ่านซิยาเราะฮ์อัรบาอีน การสวมแหวนที่มือขวา การเอาหน้าผากสัมผัสดินในขณะซุญูด และการอ่านบิสมิลลาฮ์ด้วยเสียงดัง
ในวัฒนธรรมแห่ง “อาชูรออ์” คำว่า “อัรบาอีน” นั้นหมายถึงวันที่ 40 ของการเป็นชะฮีด ของท่านอิมามฮุเซน (อ.) ซึ่งตรงกับวันที่ 20 ของเดือนซอฟัร เป็นวันที่บรรดาชีอะฮ์อิมามิยะฮ์ให้ความสำคัญอย่างมากวันหนึ่ง มีการจัดมัจญ์ลิซและการรำลึกถึงวีรกรรม
ในวัฒนธรรมและหลักคำสอนของอิสลาม ตัวเลข 40 หรือ “อัรบะอีน” นั้น นับได้ว่ามีความสำคัญอย่างมาก และถูกปลูกฝังไว้ในความรู้สึกนึกคิดของประชาชาติมุสลิมมาตลอดทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชาวชีอะฮ์อิมามียะฮ์
ในวัฒนธรรมและหลักคำสอนของอิสลาม ตัวเลข 40 หรือ “อัรบะอีน” นั้น นับได้ว่ามีความสำคัญอย่างมาก และถูกปลูกฝังไว้ในความรู้สึกนึกคิดของประชาชาติมุสลิมมาตลอดทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชาวชีอะฮ์อิมามียะฮ์
ชาวชีอะฮ์บางคนเข้าใจว่า การร้องไห้ให้กับท่านอิมามฮุเซน (อ.) เป็นแนวทางหนึ่งสำหรับการได้รับชะฟาอะฮ์และการให้อภัยความผิดบาปเพียงเท่านั้น และการพลีชีพของท่านก็ไม่มีเป้าหมายอื่นใดนอกจากสิ่งนี้ ในทัศนะของพวกท่าน การไว้อาลัยและการร้องไห้แด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.) หากไม่นำไปสู่การแก้ไขปรับปรุงและการเปลี่ยนแปลงตนเองนั้น จะเป็นสื่อแห่งการชะฟาอะฮ์ของอะฮ์ลุลบัยติ์ (อ.) หรือไม่
ชาวชีอะฮ์บางคนเข้าใจว่า การร้องไห้ให้กับท่านอิมามฮุเซน (อ.) เป็นแนวทางหนึ่งสำหรับการได้รับชะฟาอะฮ์และการให้อภัยความผิดบาปเพียงเท่านั้น และการพลีชีพของท่านก็ไม่มีเป้าหมายอื่นใดนอกจากสิ่งนี้ ในทัศนะของพวกท่าน การไว้อาลัยและการร้องไห้แด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.)
วามทุกข์โศก (มุซีบัต) ที่เกิดขึ้นกับท่านอิมามฮุเซน (อ.) นั้นใหญ่หลวงและหนักหน่วงกว่าความทุกข์โศก (มุซีบัต) ทั้งมวล เพียงสาเหตุนี้ก็เพียงพอแล้วที่จะชี้ให้เห็นว่าทำไมเราจะต้องแสดงความเสียใจและจัดพิธีไว้อาลัยรำลึกแด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.) มากกว่าอิมามท่านอื่นๆ
ความทุกข์โศก (มุซีบัต) ที่เกิดขึ้นกับท่านอิมามฮุเซน (อ.) นั้นใหญ่หลวงและหนักหน่วงกว่าความทุกข์โศก (มุซีบัต) ทั้งมวล เพียงสาเหตุนี้ก็เพียงพอแล้วที่จะชี้ให้เห็นว่าทำไมเราจะต้องแสดงความเสียใจและจัดพิธีไว้อาลัยรำลึกแด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.) มากกว่าอิมามท่านอื่นๆ

หน้า